วันจันทร์ที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2562

แบบจำลองสกิลเบค


แบบจำลองสกิลเบค
    แบบจำลองปฏิสัมพันธ์หรือแบบจำลองที่ไม่หยุดนิ่งที่กำหนดโดยสกิลเบคซึ่งเป็นอดีตผู้อำนวยการศูนย์พัฒนาหลักสูตรของประเทศออสเตรเลียเป็นนักการศึกษาที่เป็นที่รู้จักกันดีในปี ค.ศ.1976 ได้แนะนำวิธีการสร้างหลักสูตรระดับโรงเรียนซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในการสนับสนุนการพัฒนาหลักสูตรโดยอาศัยโรงเรียนเป็นฐาน  (School-Based Curriculum Development: SBCD) สกิลเบคจัดเตรียมแบบจำลองที่ทำให้ครูสามารถพัฒนาหลักสูตรที่เหมาะสมบนพื้นฐานของความเป็นจริง แบบจำลองดังกล่าวนี้อาจได้รับการพิจารณาว่าเคลื่อนไหวไปตามธรรมชาติซึ่งเป็นความตั้งใจอันแน่วแน่ของสกิลเบค
                แบบจำลองปฏิสัมพันธ์หรือแบบจำลองที่ไม่หยุดนิ่ง (เคลื่อนไหว) เป็นแบบจำลองที่ผู้พัฒนาอาจจะตั้งต้นด้วยองค์ประกอบใดๆ ของหลักสูตร และดำเนินไปตามลำดับใดๆ ก็ได้มากกว่าที่จะตรึงติดอยู่กับขั้นตอน  เช่น แบบจำลองเชิงเหตุผล สกิลเบคสนับสนุนความคิดนี้และกล่าวว่า เป็นความสำคัญที่ผู้พัฒนาหลักสูตรต้องรับรู้แหล่งที่มาของจุดประสงค์เหล่านั้นและในการที่จะเข้าใจแหล่งที่มานี้มีการวิเคราะห์สถานการณ์
                 สกิลเบคให้เหตุผลว่าเพื่อให้ศูนย์พัฒนาหลักสูตรทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ  ต้องอาศัยกระบวนการห้าขั้นในกระบวนการหลักสูตร  แบบจำลองความประยุกต์ให้มีความเท่าเทียมกันในกระบวนการหลักสูตร ระบบการสังเกต และประเมินผลหลักสูตร และการวิเคราะห์ทฤษฎีหลักสูตร
                 สกิลเบคไม่เห็นด้วยกับลำดับเหตุผลของแบบจำลองเหตุผลว่าเป็นเหตุผลโดยธรรมชาติแนะนำว่าผู้พัฒนาหลักสูตรอาจจะเริ่มต้น  การวางแผนหลักสูตรในขั้นๆ ก่อนก็ได้  และจะดำเนินในลำดับใดๆ   ก็ได้  บางครั้งแบบจำลองนี้ก่อให้เกิดความสับสนคือ  ในความเป็นจริงแล้วดูเหมือนสนับสนุนวิธีการเชิงเหตุผลในการพัฒนาหลักสูตร  อย่างไรก็ตาม  สกิลเบคกล่าวว่า  แบบจำลองไม่ได้แสดงนัยของการวิเคราะห์วิธีการและจุดหมายปลายทาง  แต่แสดงนัยในการสนับสนุนทีมหรือกลุ่มผู้พัฒนาหลักสูตรให้พิจารณาข้อความจริงเกี่ยวกับองค์ประกอบและลักษณะของกระบวนการพัฒนาหลักสูตรที่แตกต่างกัน  เพื่อให้มองกระบวนการว่าเป็นสิ่งมีชีวิต  และทำงานในลักษณะของวิธีการเชิงระบบ
        Skillbike Model
The interactive model or dynamic model set by Skylark, the former director of the Australian Curriculum Development Center, is a well-known educator. Creating a school-based curriculum that is part of supporting school-based curriculum development. Skillbeck provides a model that enables teachers to develop the right curriculum based on reality. This model may be considered a natural movement, which is the intent of Skylark.
An interaction model or a non-stationary model (motion) is a model that the developer may begin with any element of the course and proceed in any order. It's more like sticking to a step like a logical model. Skywalk supports this idea and says, It is important that curriculum developers recognize the source of those goals, and in order to understand this source, there is an analysis of the situation.
To Skillbeck argues that in order for the curriculum development center to function effectively. The process requires five steps. Equivalent application model in curriculum process. Observation system And evaluation of the curriculum. And analysis of course theory.
To Skillbeck disagreed with the rational order of the model. The reasoning is that the natural reason suggests that the course developer may begin. Planning the course in advance, and it will take place in any order. Sometimes, this model is confusing. In fact, it seems to support the rational approach to curriculum development. so anyway Skilling said. Modeling does not imply an analysis of the way and destination. In the support of the team or group of course developers, consider the actual message about the components and characteristics of the different course development processes. To look at the process as a creature. And work in a systematic way


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

ส่วนหัว

บล็อกนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาการพัฒนาหลักสูตร   โดย   ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิจิตรา ธงพานิช   สาขาหลักสูตรและการสอน ผู้จัดท...